Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4593

Notice: Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4601

Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4593

Notice: Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4601
Concept - Thailand Biennale Korat
Thailand Biennale Korat

Concept

Butterflies Frolicking on the Mud:
Engendering Sensible Capital

About Exhibition

Butterflies Frolicking on the Mud: Engendering Sensible Capital, the theme for Thailand Biennale, Korat 2021 is a proposal and a practice, primarily focusing on the ecologies specific to this region. These ‘ecologies’ do not refer only to natural environments: they also encompass an entire array of elements that surround us. Instead of a critique of current global capitalism, the proper practical role of art today ought to create a new ‘sensible’ capital focusing on a system of engendering, by leveraging its open, transversal nature.

This idea of the new capital is inspired by the theory of ‘social common capital’ by Dr. Hirofumi Uzawa (mathematical economist). It enriches people’s lives in both material and spiritual terms. In order to maintain social stability, it has recourse to three forms of capital: natural environment, social infrastructure, and institutional capital. These types of capital must be regulated and facilitated by professional experts and there needs to be a sense of fiduciary responsibility that respects the interests of the trustees.

The second Thailand Biennale seeks to discover the latent potential and value of various sites of ‘institutional capital,’ including hospitals, universities, temples, museums, zoos, parks, and communities of ceramic or silk production, in line with this idea of a single, fiduciary trust. It is an attempt to implement a practice that will visualize and enhance this process, in collaboration with artists, architects, scientists, anthropologists, and other domain experts.

Past spring, there was a massive outbreak of beautiful butterflies with white and yellow-green wings because COVID-19 has reduced the movement of people and restored nature. The butterflies were happily fluttering around in the mud. It is well known that butterflies paddle on the mud to detoxify and rehydrate. Similarly, we are trying to figure out what is going on around us now and what we can do in the uncertain future. The title Butterflies Frolicking on the Mud expresses our miserable but courageous state. It indicates the “capital” of hope that emerges from the midst of anxiety and uncertainty

“Yuko Hasegawa”

เกี่ยวกับนิทรรศการ (Thai Version)

แนวคิด เซิ้ง…สิน ถิ่นย่าโม คือข้อเสนอและแนวทางการทำงานที่สนใจนิเวศน์ในพื้นถิ่นของจังหวัดนครราชสีมา โดย “นิเวศน์” ในที่นี้ไม่ได้หมายความเพียงแค่สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติแต่ยังรวมไปถึงองค์ประกอบต่างๆที่รายล้อมอยู่ ดังนั้นแทนที่จะวิพากษ์วิจารณ์กระแสทุนนิยมที่ครองโลกในปัจจุบัน บทบาทที่เหมาะสมของศิลปะคือการสร้างทุนหรือ “สิน” รูปแบบใหม่ที่ “สมเหตุสมผลและหาประโยชน์ได้” มุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้าง โดยใช้ประโยชน์จากธรรมชาติของทุนที่เปิดกว้างและกว้างขวาง

แนวคิดของทุนใหม่นี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจากทฤษฎี “ทุนร่วมทางสังคม” ของ ดร.ฮิโรฟุมิ ยุซาวา (นักคณิตเศรษฐศาสตร์) ทฤษฎีนี้ยกระดับชีวิตของผู้คนทั้งในเชิงวัตถุและจิตวิญญาณ ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจ  ระบบทุนร่วมทางสังคมนี้จึงต้องพึ่งอยู่กับทุน 3 รูปแบบ ซึ่งได้แก่ ทุนเชิงสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทุนเชิงโครงสร้างพื้นทางสังคม และทุนเชิงสถาบัน โดยทุนเหล่านี้ต้องถูกควบคุมและจัดการโดยผู้เชี่ยวชาญ บริหารบนหลักของความไว้วางใจและคงไว้ซึ่งประโยชน์ของผู้จัดการทรัพย์สิน

การจัดงานเบียนนาเล่ครั้งที่ 2 นี้ ต้องการที่จะหาศักยภาพและคุณค่าที่ซ่อนอยู่ใน “ทุนเชิงทางสถาบัน” ของพื้นที่ ทั้งโรงพยาบาล มหาวิทยาลัย วัด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ ชุนชนเครื่องปั้นดินเผาหรือทอผ้าไหม ผสานไปกับแนวคิดเรื่องความไว้เนื้อเชื่อใจและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อที่จะให้ความพยายามนี้ออกมาเป็นภาพจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากศิลปิน สถาปนิก นักวิทยาศาสตร์ นักมานุษยวิทยา และผู้เชี่ยวชาญจากสาขาอื่นๆ

เมื่อฤดูใบไม้ผลิที่ผ่านมา ผีเสื้อปีกสีขาวและเขียวแกมเหลืองขยายพันธุ์เป็นจำนวนมาก สถานการณ์ของโรคโควิด-19 ทำให้มนุษย์จำกัดการเคลื่อนไหว ธรรมชาติจึงฟื้นตัว ผลคือผีเสื้อจึงขยับปีกบินอย่างร่าเริงบนโคลน เป็นที่รู้กันดีว่าผีเสื้อบินร่อนลงโคลนก็เพื่อชำระล้างและคืนความชุ่มชื้นให้ตัวเอง เช่นเดียวกันกับเราที่พยายามคิดหาทางออกกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัว และหาคำตอบว่าเราทำอะไรได้บ้างในอนาคตที่ไม่มีความแน่นอน ดังนั้น “ผีเสื้อเริงร่าบนโคลนตม” วลีนี้ จึงสะท้อนสภาวะที่ถึงแม้จะลำบากแต่เปี่ยมไปด้วยกำลังใจ เหมือนกำลัง “เซิ้งสิน” แห่งความหวท่ามกลางความสับสนและความไม่แน่นอน

“ยูโกะ ฮาเซงาวะ”

Subscribe