Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4623

Notice: Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4631

Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4623

Notice: Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4631
Bianca Bondi - Thailand Biennale Korat
Thailand Biennale Korat

The Antechambre (Thai Crane)

The Antechambre (Thai Crane), 2021

ศิลปะจัดวางเฉพาะพื้นที่, เกลือ, เฟอร์นิเจอร์, ดอกไม้
ขนาดผันแปรตามพื้นที่
ไทยแลนด์ เบียนนาเล่ คอมมิชชัน 

The Antechambre (Thai Crane) is a site-specific installation by South-African Artist Bianca Bondi. The artist is known for experimenting with natural elements and creating unique environments. This work is an adaptation from its first presentation The Antechamber, (Tundra Swan) in the Busan Biennale 2020. It is inspired by a poem “Tundra Swan ” by South Korean poet Hyesoon Kim, which depicts the disembodiment between one’s mind and one’s physicality. Presenting the work in the pavilion at the Nakhon Ratchasima Zoo, “The Antechambre (Thai Crane)” attempts to flatten human’s psyche and realign it with all beings. The artist fills the space with salt, an element vital for life – animals and humans alike – and known to keep bad spirits at bay. She creates the scene of an isolated bedroom decorated by copper objects, which will eventually generate verdigris as they are exposed to the salt. Bondi sets a circular pond in the middle of a bed where the seed of life is given and taken away, while simultaneously placing a mirror of the same dimensions on the dresser, to act as a portal, a shrine, and a confrontation of self. While The first version spoke of the swan and its death song, here we have the symbology of the Thai crane, saved from near extinction, with flowers of fertility and birth.

Production supported by Mr.Chatchai Saijan; Department of Visual Art, Faculty of Art and Industrial Design Rajamangala University of Technology Isan

ห้องรอ (กระเรียนไทย)

ห้องรอ (กระเรียนไทย), 2021
ศิลปะจัดวางเฉพาะพื้นที่, เกลือ, เฟอร์นิเจอร์, ดอกไม้
ขนาดผันแปรตามพื้นที่
ไทยแลนด์ เบียนนาเล่ คอมมิชชัน 

ห้องรอ (กระเรียนไทย) เป็นผลงานจัดวางเฉพาะพื้นที่โดย เบียนก้า บอนดิ ศิลปินชาวแอฟริกาใต้ ศิลปินเป็นที่รู้จักจากการทดลองกับวัสดุธรรมชาติเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมเฉพาะ ผลงานที่จัดแสดงเป็นการปรับปรุงจาก ห้องรอ (ทุนดรา สวอน) ซึ่งจัดแสดงที่ปูซานเบียนนาเล่ใน ค.ศ. 2020 ผลงานดังกล่าวได้รับแรงบันดาลใจมาจากบทกวีชื่อว่า “ทุนดรา สวอน” โดย ฮิวซูน คิม กวีชาวเกาหลีใต้ ที่แสดงสภาวะของการแยกออกจากกันระหว่างจิตใจกับกายภาพ ห้องรอ (กระเรียนไทย) จัดแสดงอยู่ในอาคารอเนกประสงค์ของสวนสัตว์นครราชสีมา ผลงานพยายามที่จะทำให้จิตใจของมนุษย์แบนลงและอยู่ในระนาบเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ศิลปินเติมพื้นที่ด้วยเกลือ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวิตทั้งสัตว์และมนุษย์ เกลือยังเป็นที่รู้จักในฐานะของเครื่องปกป้องจากวิญญาณร้าย เธอสร้างฉากของห้องนอนอันโดดเดี่ยว ซึ่งถูกตกแต่งด้วยวัสดุประเภททองแดงที่เกิดร่องรอยของสนิมเขียวโดยธรรมชาติเมื่อมันทำปฏิกิริยากับโซเดียมในเกลือ บอนดิสร้างสระน้ำตรงกลางของเตียง ที่ซึ่งให้เมล็ดพันธุ์ของชีวิตมาและนำมันกลับไป ในขณะเดียวกันก็วางกระจกขนาดเดียวกันไว้ที่โต๊ะเครื่องแป้ง ราวกับว่ามันเป็นประตู เป็นเทวสถาน และเป็นการเผชิญหน้ากับตนเอง ในขณะที่ผลงานแรกนั้นพูดถึงหงส์และเพลงแห่งความตายของมัน ผลงานนี้มีสัญลักษณ์ของกระเรียนไทยที่ถูกปกป้องจากการสูญพันธ์ ล้อมรอบไปด้วยดอกไม้ของการเกิดและความอุดมสมบูรณ์ 

สนับสนุนการผลิตผลงาน โดย นายฉัตรชัย สายจันทร์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมและออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

Bianca Bondi

Nakhon Ratchasima Zoo (Korat Zoo)

Open Daily : 8.00 - 17.00
Mueang Nakhon Ratchasima District
See Venue

Subscribe