Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4629

Notice: wp_json_file_decode(): Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 6085

Notice: file_get_contents(): read of 8192 bytes failed with errno=21 Is a directory in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 4629

Notice: wp_json_file_decode(): Error when decoding a JSON file at path /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-content/themes/thailand-biennale-korat/resources: Syntax error in /home/soci5838/thailandbiennale.org/tbk2021/wp-includes/functions.php on line 6085
Make or Break - Thailand Biennale Korat
Thailand Biennale Korat

Translation project (rest house)

Translation project (rest house), 2021
site-specific installation with texts, built form, objects, online documents and conversations
320 x 350 cm
Thailand Biennale, Korat 2021 commission

Translation Project (rest house) is a site-specific project by Make or Break, an Australian artist collective. As their artistic practice is structured around the notion of infrastructure, the artist is particularly interested in the Khmer empire’s ancient highway from Angkor to Phimai, and Dharmasala or “House of Fire ” that functioned as a rest house along the highway. The artist relates the function of Dharmasala with the brutalist concrete bus shelters that were built in Australia during the 1970s. Make or Break worked with a group of architects from Phimai Heritage Trust, a local community-based organization to merge together those two ideas. The design of the shelter was realized through the rigorous process of textual communication, translation and interpretation without giving any nonverbal hints or visual reference. The Phimai new bus shelter  is constructed from local material such as rattan and laterite. This contemporary house of fire is also solar-powered. It will be used as a rest house for the visitors of the biennale, as well as a place for future public gathering.

Lead Artists: Make or Break (makeorbreakart.com)
Supported by: Phimai Heritage Trust, Khon Kaen University and Rajamangala University of Technology Isan
Architects: Sitta Kongsasana, Sininart Kotruchin, Benjawan Thatsanaleelaporn, Mongkol Wongkittiwimol
Architectural Production: Narathip Sonthisumphun, Nitwipha Jaiplaeng
Construction Team: Thanasit Chantaree, Arnuchit Booskarm
Solar Team: Artt Chamarerk, Witthawat Khotburee
Rattan Crafters: Somkoun Ngoophimai, Puckjiravarin Kaewdonree
Translators: Rungsima Kullapat, Tiracha Kenwiset, Thundorn Kulkliang

ทรานสเลชัน โปรเจกต์ (ศาลาพัก)

ทรานสเลชัน โปรเจกต์ (ศาลาพัก), 2564
ศิลปะจัดวางเฉพาะพื้นที่กับตัวบท, แบบสร้าง, วัถตุ, เอกสารและบทสนทนาออนไลน์ 
320 x 350 ซม.
ไทยแลนด์เบียนนาเล่ โคราช 2021 คอมมิชชัน

ทรานสเลชัน โปรเจกต์ (ศาลาพัก) เป็นผลงานเฉพาะพื้นที่ โดยเมกออร์เบรก กลุ่มศิลปินชาวออสเตรเลีย เนื่องจากการทำงานศิลปะของพวกเขามีแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐาน ศิลปินจึงสนใจเส้นทางราชมรรคาของอาณาจักรเขมรตั้งแต่นครวัดไปจนถึงพิมาย และธรรมศาลาหรือ “บ้านมีไฟ” ซึ่งทำหน้าที่เป็นที่พักริมทาง ศิลปินเปรียบเทียบหน้าที่ของธรรมศาลากับที่รอรถประจำทางแบบบรูทัลลิสต์ที่สร้างขึ้นในออสเตรเลียในช่วงทศวรรษ 1970 เมกออร์เบรก ทำงานร่วมกับกลุ่มสถาปนิกจากภาคีอนุรักษ์เมืองพิมายซึ่งเป็นองค์กรชุมชนท้องถิ่น เพื่อผสานแนวคิดทั้งสองเข้าด้วยกัน การออกแบบสถานที่พักพิงเกิดขึ้นจากกระบวนการอันเข้มงวดระหว่างการสื่อสารด้วยตัวบท การแปล และการตีความโดยไม่มีการระบุคำใบ้หรือการอ้างอิงด้วยภาพใดๆ ศาลารอรถใหม่แห่งพิมายสร้างขึ้นจากวัสดุในท้องถิ่น เช่น หวายและศิลาแลง บ้านมีไฟร่วมสมัยแห่งนี้ใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเป็นศาลาพักสำหรับผู้มาเยี่ยมชมงานเบียนนาเล่ และเป็นสถานที่สำหรับการชุมนุมสาธารณะในอนาคต

ศิลปิน: เมกออร์เบรก (makeorbreakart.com)
สนับสนุนโดย: กลุ่มอนุรักษ์ภาคีเมืองพิมาย, มหาวิทาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ทีมสถาปนิก: สิทธา กองสาสนะ , สินินาถ โคตรุฉิน, เบญจวรรณ์ ทัศนลีลพร, มงคล วงศ์กิตติวิมล
ทีมสร้างด้านสถาปัตยกรรม: นราธิป สนธิสัมพันธ์, นิจวิภา ใจแปลง
ทีมก่อสร้าง: ธนสิทธิ์ จันทะรี, อานุชิต บุตรคาม
ทีมโซลาร์ เซลล์: อรรถ ชมาฤกษ์, วิทวัส โคตรบุรี
ช่างฝีมือจักสาน: สมควร งูพิมาย, ภัคจิรวรินทร์ แก้วดอนรี
ผู้แปล: รังสิมา กุลพัฒน์, ติรชา เคนวิเศษ, ธันดร กุลเกลี้ยง

Make or Break

Clock Tower Sentry Box

Phi Mai District
See Venue

Subscribe